บทความ

สื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์

รูปภาพ
สื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เดชา  ลุนอุบลและคณะได้รวมข้อมูลของสื่อการสอนไว้ว่า ความหมายของสื่อการเรียนการสอน                สื่อการเรียนการสอน  หมายถึง  สิ่งต่างๆ ที่เป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีการ ซึ่งเป็นตัวกลางทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของการเรียนการสอนที่กำหนดไว้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วเป็นเครื่องมือและตัวกลางซึ่งมีความสำคัญในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าที่เป็นตัวนำความต้องการของครูไปสู่ตัวนักเรียนอย่างถูกต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นักการศึกษาเรียกชื่อการสอนด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น  อุปกรณ์การสอน โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา สื่อการเรียนการสอนสื่อการศึกษา  เป็นต้น ความหมายของสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่             สื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางที่มีความสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ในยุคโลกาภิวัฒน์หรือในยุคที่เต็มไปด้วย ICT เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารต่างๆ โดยเครื่องมือเหล่านี้ช่วยสร้างสีสันดึงดูดใจ เปิดโลกการเรียนรู้กว้างไกลต่อผู้เรียนมากยิ่งขึ้น ซึ่งส

นวัตกรรม

รูปภาพ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา          1. ความหมายของนวัตกรรม               1.1. นวัตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคำว่า“นว” กับ “กรรม”ซึ่ง นว หมายถึง ใหม่ และ กรรม หมายถึง การกระทำ เมื่อนำสองคำนี้มารวมกัน เป็น นวกรรม หรือนวตกรรม หรือว่า นวัตกรรม ซึ่งเป็นคำที่ใช้ในปัจจุบัน และสามารถแปลตรงตามความหมายก็คือ การกระทำใหม่ ๆ หรือการพัฒนาปรับปรุงหรือดัดแปลงจากสิ่งใดๆ แล้วทำให้สิ่งนั้นมีประสิทธิภาพการใช้งานที่ดีขึ้น ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานนั้นๆมากยิ่งขึ้น          2. แนวคิดที่ทำให้เกิดนวัตกรรมทางการศึกษา              2.1. 1.นวัตกรรมนั้นถือเป็นสิ่งแปลกใหม่ จึงส่งผลโดยตรงต่อความท้าทายของผู้ทำการวิจัยที่จะมาทำการวิจัย               2.2. 3.มีเหตุปัจจัยโดยตรงจากการทดลองและวิจัยเพื่อที่นำมาเพื่อแก้ปัญหาทางการศึกษา          3. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา มี 5 ประเภท                3.1. 1.นวัตกรรมด้านสื่อสารการสอน                3.2. 2.นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน                3.3. 3.นวัตกรรมด้านหลักสูตร                3.4. 4.นวัตกรรมด้านก

รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิธีธรรมชาติ (Natural Method)

รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิธีธรรมชาติ รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิธีธรรมชาติ (Natural Method) เลิศบุษยา   ( https://www.gotoknow.org/posts/ 503050 )   ได้รวบรวมรูปแบบการการจัดการเรียนรู้วิธีธรรมชาติ  โดยกล่าวถึงการจัดการเรียนการสอนแบบวอลดอร์ฟ   (Waldorf  Method)   ไว้ดังนี้ แนวคิดพื้นฐาน             การเรียนการสอนแบบวอลดอร์ฟอยู่บนพื้นฐานที่ว่าการเรียนรู้ของคนเกิดจากความสมดุลของความคิด    ความรู้สึก    และเจตจำนงของคน ๆ นั้น    หากเด็กได้อยู่ในบรรยากาศแห่งความต้องการ    ความรู้สึกสบายใจ    ความผ่อนคลาย   เด็กจะถ่ายทอดความคิดและการเรียนรู้อย่างแยบคลายร่วมไปกับการทำกิจกรรมที่เขากระทำอยู่             รูดอล์ฟ    สไตเนอร์   (   Rudolf  Stiner ,  1861 – 1925 )    ได้จัดตั้งโรงเรียนวอลดอร์ฟ  (   Waldorf  School )    แห่งแรกขึ้นที่สตุทการ์ต    ประเทศเยอรมนี    เมื่อเดือนกันยายน    ค.ศ.     1919   โดยมีความเชื่อว่าการศึกษาคือการช่วยคนให้ดำเนินวิถีชีวิตแห่งตนที่ถูกต้องตามธรรมชาติด้วยการให้เด็กทำกิจกรรมตามแต่ตนสนใจโดยมีครูและผู้ปกครองเป็นผู้ป้องกันเด็กจากการรบกวนของโลกสมัยใหม่และเทคโน

รูปแบบเทคนิควิธีการสอน

รูปแบบเทคนิควิธีการสอน 54 รูปแบบการสอนสำหรับผู้สอนมืออาชีพ 1. การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถาม ( Questioning Method) 2. วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา 3. วิธีสอนแบบโครงงาน( Project Method) 4. การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 5. การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ ( Discovery Method) 6. การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย ( Deductive Method) 7. การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย ( Induction Method) 8. การพัฒนาทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหา 9. การพัฒนาทักษะ/กระบวนการให้เหตุผล 10. การพัฒนาทักษะ/กระบวนการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ 11. การค้นหารูปแบบ ( Pattern Seeking) 12. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้( Inquiry Process) 13. วิธีสอนแบบอุปนัย ( Inductive Method) 14. วิธีสอนแบบนิรนัย ( Deductive Method) 15. วิธีสอนแบบอภิปราย ( Discussion Method) 16. วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน 17. วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน ( Committee Work Method) 18. วิธีสอนแบบหน่วย ( Unit Teaching Method)